หนังสือเรื่อง
โดย ไพศาล ลิ้มสถิตย์ บรรณาธิการโดย ผศ.ดร.จตุรงค์ บุญยรัตนสุนทร
จัดพิมพ์โดย : สถาบันส่งเสริมภาคประชาสังคม (สสป.)
ส่วนหนึ่งจากคำนำ
ประสบการณ์ต่างประเทศในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคม ได้แก่ ประเทศแคนาดา สวีเดน สหราชอาณาจักร
ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน ทำให้ทราบถึงกลไกส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมมีบทบาทในการพัฒนาประเทศร่วมกับภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ
เช่น การจัดสรรงบประมาณส่วนหนึ่ง การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การยกเว้นการจัดเก็บภาษีเงินได้แก่องค์กร
ที่ไม่แสวงหากำไร การจัดจ้างองค์กรภาคประชาสังคมในการทำบริการของภาครัฐ การพัฒนาเครือข่ายขององค์กรภาคประชาสังคม
จึงควรนำกรณีศึกษาเหล่านี้มาปรับใช้กับประเทศไทย
ในอดีตนั้น ภาครัฐยังไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ส่งเสริมภาคประชาสังคมที่เป็นรูปธรรมหรือต่อเนื่อง การส่งเสริมบทบาทของ
ภาคประชาสังคมของหน่วยงานต่าง ๆ มักเป็นการให้ทุนสนับสนุนการจัดกิจกรรมหรือโครงการเท่านั้น การทำงานของภาคประชา
สังคยังมีข้อจำกัดหลายประการ รวมถึงความไม่เข้าใจบทบาทของภาคประชาสังคมของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือสื่อมวลชนบางส่วน
_____________________________________________________________________
1. |
ภาคประชาสังคม กลไกสำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) |
2. |
นโยบายและกฎหมายส่งเสริม สนับสนุนองค์กรภาคประชาสังคมในญี่ปุ่น |
3. |
นโยบายและกฎหมายส่งเสริม สนับสนุนองค์กรภาคประชาสังคมในเกาหลีใต้ |
4. |
การสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาเขตปกครองพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน |
5. |
การสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในต่างประเทศ: กรณีศึกษาประเทศแคนาดา |
6. |
กลไกสนับสนุนทางการเงินของภาครัฐเพื่อส่งเสริมบทบาทของภาคประชาสังคม: กรณีศึกษาประเทศสวีเดน สหราชอาณาจักร |
7. |
กรณีศึกษาความร่วมมือระหว่างภาคประชาสังคมกับภาครัฐในแคนาดา |
8. |
เครื่องมือสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคม |
9. |
ความสำคัญของร่าง พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรภาคประชาสังคม พ.ศ. .... |
10. |
ภาคประชาสังคม เอ็นจีโอ ตัวถ่วงการพัฒนาประเทศ ? |
11. |
บทส่งท้าย: ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมของไทย |